Innovation
Excellence Series
หลักสูตรเพื่อความเป็นเลิศด้านนวัตกรรม
HANDS-ON SYSTEMATIC INNOVATION
"For every complex problem there
are solutions that are simple, easy and wrong." H.L.Mencken
Corporations seek innovative solutions to engineering problems,
quickly and with fewer resources, to maintain a competitive
edge in an era of downsizing. This is required to improve
their products and processes so that they can maintain their
leadership and share in the market. However, human nature,
specialist training, habits, paradigms and the working environment
constrain our innovative thinking. This is called "Psychological
Inertia" and it has to be overcome to obtain innovative
solution concepts for the chronic technical problems.
OUTLINE
- Problem definition
- Problem description
- System model
- Ideality
- Resources
- Constraints
- Problem solving
- Contradictions
- Inventive principles
- Trend of evolution
- Knowledge Database
- S-Fields
- Evolutionary Potential
WHO SHOULD ATTEND
Chief Innovation Officer,
Research & Development, Engineering, Quality, Product
Design, Process Design, and New Product Development
การสร้างนวัตกรรมในองค์กรอย่างเป็นระบบ
สำหรับทุกปัญหาที่ซับซ้อน แนวทางการแก้ปัญหาคือ
ง่ายๆ, ลวกๆ และ ผิดๆ เสมอ
H.L.Mencken
องค์กรแสวงหาแนวทางการสร้างนวัตกรรมเพื่อที่จะแก้ปัญหาทางวิศวกรรมให้เร็วขึ้น
และใช้ทรัพยากรให้น้อยลง เพื่อที่จะคงไว้ซึ่งความสามารถในการแข่งขันในยุคที่ต้องมีการลดขนาดขององค์กร
และนั่นคือความจำเป็นที่จะต้องปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการเพื่อที่จะสามารถคงไว้ซึ่งความเป็นผู้นำและส่วนแบ่งทางการตลาด
อย่างไรก็ตาม ธรรมชาติของมนุษย์, การอบรมแบบพิเศษ, อุปนิสัย,
กระบวนทัศน์ และสภาวะแวดล้อมในการทำงาน จะเป็นข้อจำกัดในด้านความคิดสร้างสรรค์
หรือที่เรียกว่า ความเฉื่อยชาของสมอง และองค์กรจะต้องเอาชนะเรื่องนี้ให้ได้เพื่อที่จะให้ได้มาซึ่งคำตอบทางนวัตกรรมเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาเรื้อรังทางด้านเทคโนโลยีให้จงได้
หัวข้อฝึกอบรม
- การกำหนดนิยามของปัญหา
- รายละเอียดของปัญหา
- รูปแบบของปัญหา
- อุดมคติ
- ทรัพยากร
- การแก้ปัญหา
- ความขัดแย้ง
- ทฤษฎีการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
- แนวโน้มของวิวัฒนาการ
- ฐานข้อมูลความรู้
- สนาม-เอส
- โอกาสของการพัฒนา
ใครควรเข้าอบรมหลักสูตรนี้
ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายนวัตกรรม,
ฝ่ายวิจัยและพัฒนา, วิศวกร, ฝ่ายคุณภาพ, ฝ่ายออกแบบผลิตภัณฑ์,
ฝ่ายออกแบบกระบวนการ และ ฝ่ายออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่
|