Manufacturing
Excellence Series
หลักสูตรเพื่อความเป็นเลิศด้านการผลิต
CELL-MANUFACTURING
Because of the fast changing environment,
e.g. the volatility of demand, there is a need for agile manufacturing
systems to gain a competitive advantage.
Cellular Manufacturing is a model for workplace design, and
is an integral part of lean manufacturing systems. The goal
of lean manufacturing is the aggressive minimization of waste,
to achieve maximum efficiency of resources. Cellular manufacturing,
sometimes called cellular or cell production, arranges factory
floor labor into semi-autonomous and multi-skilled teams,
or work cells, who manufacture complete products or complex
components. Properly trained and implemented cells are more
flexible and responsive than the traditional mass-production
line, and can manage processes, defects, scheduling, equipment
maintenance, and other manufacturing issues more efficiently.
OUTLINE
- Fundamentals of layout
- Cellular Manufacturing
- Implementing Cells
- Part Families
- Production Flow Analysis
WHO SHOULD ATTEND
Industrial engineer, team leaders, manufacturing
engineers, and those responsible for continuous improvement
and/or implementing and working with cells
ระบบการผลิตแบบเซล
อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของภาวะการแข่งขันอย่างรวดเร็ว
เช่น ปริมาณความต้องการที่ไม่คงที่ ดังนั้นความต้องการระบบการผลิตที่คล่องตัวมากขึ้น
จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการชิงความได้เปรียบในการแข่งขัน
ระบบการผลิตแบบเซล คือรูปแบบการออกแบบสถานที่ทำงานแบบใหม่
และเป็นส่วนหนึ่งของการผลิตแบบลีน เป้าหมายของการผลิตแบบลีนก็คือการลดความสูญเปล่าอย่างยิ่งยวด
และการใช้ทรัพยากรให้เป็นประโยชน์สูงสุด การจัดรูปแบบของพื้นที่การผลิตใหม่
โดยมีพนักงานที่มีทักษะในการผลิตที่หลากหลาย สามารถทำงานในเซลเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์จนสำเร็จได้
การอบรมจึงจำเป็นต่อการผลิตแบบนี้อย่างมาก เพราะการผลิตแบบเซลจะยึดหยุ่นมากขึ้น
มีความรับผิดชอบมากขึ้น กว่าการผลิตแบบเดิม โดยที่พนักงานในการผลิตแบบเซล
จะสามารถจัดการกับกระบวนการ, ข้อบกพร่อง, ตารางการผลิต, การบำรุงรักษาเครื่องจักร
และปัญหาอื่นๆในการผลิต ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
หัวข้อฝึกอบรม
- การวางผังโรงงานเบื้องต้น
- ผังโรงงานแบบเซล
- การประยุกต์ใช้ผังโรงงานแบบเซล
- การจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์
- การวิเคราะห์การไหลของการผลิต
ใครควรเข้าอบรมหลักสูตรนี้
วิศวกรอุตสาหการ, หัวหน้างาน, วิศวกรฝ่ายผลิต, และผู้ที่รับผิดชอบในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและผู้ที่กำลังจะนำการผลิตแบบเซลไปใช้
|