Manufacturing
Excellence Series
หลักสูตรเพื่อความเป็นเลิศด้านการผลิต
PULL MANUFACTURING
Inventory costs money to purchase
which raises the working capital necessary to run a business.
Inventory often becomes obsolete having to be written off
or sold at a loss or a lower price.
Pull is a foundational element of Lean where the overriding
goal is the elimination of waste. Pull allows for just in
time inventory management which helps significantly reduce
waste. Rather than pushing inventory to the floor whether
its needed or not as some computer-based methods do, pull
relies on inventory signals to replenish parts when and where
they are needed in just the right amounts required to replenish
customer demand. New material is produced only after old material
has been consumed, thus eliminating waste.
OUTLINE
- Why Pull Manufacturing?
- The Problem of Inventory
- Just In Time
- Kanban
- One Piece Flow
- Demand / Pull
- Standard Work & Takt Time
- Production Smoothing
WHO SHOULD ATTEND
Industrial engineer, team leaders, manufacturing
engineers, and those responsible for continuous improvement
and/or implementing and working with processes.
ระบบการผลิตแบบดึง
สินค้าคงคลังคือต้นทุนและเป็นเหตุให้ต้องเพิ่มเงินทุนหมุนเวียนของธุรกิจ
สินค้าคงคลังที่มากเกินไปก็จะกลายเป็นสินค้าที่หมดอายุและจะต้อง
ตัดมูลค่าออกจากทางบัญชี หรือขายในราคาถูก
ระบบการผลิตแบบดึงคือพื้นฐานของระบบการผลิตแบบลีน โดยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการลดความสูญเปล่าในการผลิต
ระบบการผลิตแบบดึงจะมีการจัดการวัตถุและสินค้าคงคลังแบบทันเวลาพอดีซึ่งจะมีส่วนช่วยใมนการลดความสูญเปล่าในการผลิต
แทนที่จะทำการผลักดันวัตถุดิบและสินค้าคงคลังไม่ว่าฝ่ายผลิตจะต้องการหรือไม่แต่จะมีการดึงวัตถุดิบตามความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า
สินค้าจะทำการผลิตเพิ่มก็ต่อเมื่อสินค้าเก่าได้ถูกดึงออกไปเท่านั้น
ดังนั้นจึงเกิดการขจัดความสูญเปล่าในการผลิต
หัวข้อฝึกอบรม
- ทำไมจึงต้องใช้ระบบการผลิตแบบดึง
- ปัญหาที่เกิดจากการจัดเก็บสินค้าและวัตถุดิบ
- การผลิตแบบทันเวลาพอดี
- ระบบคัมบัง
- การไหลแบบชิ้นเดียว
- ความต้องการ/การดึงตามความต้องการ
- มาตรฐานการทำงาน และ Takt Time
- การปรับเรียบการผลิต
ใครควรเข้าอบรมหลักสูตรนี้
วิศวกรอุตสาหการ, หัวหน้าทีม, วิศวกรฝ่ายผลิต และผู้ที่รับผิดชอบเรื่องการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในองค์กร
หรือ ผู้ที่ทำงานในกระบวนการผลิต
|